คำสั่ง Linux ขั้น Advance สำหรับ Programmers

05-ต.ค.-18

คัมภีร์เทพ IT

Linux เป็นหนึ่งใน Operation System ที่ได้รับความนิยมสูงสำหรับ Developers (รวมทั้ง เหล่า Hackers) ในบทความนี้จะกล่าวถึง คำสั่ง Linux ขั้น Advance ที่ถูกใช้งานโดยผู้ใช้งาน Linux เพื่อให้ System ทำงานได้อย่างราบรื่น และสามารถ Configuration ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลองมาดูกันว่ามีคำสั่งอะไรบ้าง

1. คำสั่ง: Ifconfig

Ifconfig ถูกใช้ในการ configure ค่าของ kernel-resident network interfaces มันถูกใช้ในช่วงที่ Boot เพื่อ Set up interfaces ที่จำเป็น หลังจากนั้น จะถูกใช้เฉพาะเมื่อมีการ debug หรือต้อง tune ตัว system 

  • Ifconfig, เมื่อเรียกใช้โดยไม่มี Arguments จะแสดงรายละเอียดทั้งหมดของ Interfaces ที่ใช้งานอยู่ หากคุณระบุชื่อ Interfaces เป็น Arguments, รายละเอียดของ Interfaces นั้นๆ จะถูกแสดงออกมา

 

  • แสดงรายละเอียดของทุก Interfaces (รวมทั้ง Interfaces ที่ถูก Disable ไว้ด้วย)

  • ทำการ Disable Interfaces

  • ทำการ Enable Interfaces

  • กำหนด IP-Address ให้กับ Interfaces

  • เปลี่ยนแปลง MTU

2. คำสั่ง: Netstat

คำสั่ง Netstat จะแสดงข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับ network เช่น network connections, routing tables, interface statistics, masquerade connections, multicast memberships เป็นต้น

  • แสดง List ของ Network Ports ทั้งหมด

  • แสดง List ของ TCP Ports ทั้งหมด

  • แสดงข้อมูลสถิติของทุก Ports

3. คำสั่ง: Nslookup

Network utility program ที่ใช้สำหรับรับข้อมูลเกี่ยวกับ Internet servers โดย utility จะทำการหาข้อมูลของ name server สำหรับ domains โดยสอบถามไปที่ DNS

  • สืบค้น Mail Exchanger Record

  • สืบค้น Name Server

  • สืบค้น DNS Record

  • สืบค้น DNS Record

4. คำสั่ง: Dig

Dig เป็นเครื่องมือที่ใช้สอบถาม DNS nameservers เกี่ยวกับข้อมูลของ host addresses, mail exchanges, nameservers, และ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือนี้สามารถใช้งานได้จากระบบปฏิบัติการทั้ง Linux (Unix) หรือ Macintosh OS X การใช้งานทั่วไปของการ Dig คือการค้นหา host

  • Turn Off Comment Lines

  • Turn On Comment Lines

  • Disable Section ทั้งหมดพร้อมกัน

5. คำสั่ง: Top

ใช้ในการดู process ของ CPU โดยคำสั่งนี้จะ refresh อัตโนมัติ ซึ่งเป็นค่า default และจะยังคงแสดง process ของ CPU ยกเว้นจะได้รับคำสั่ง Interrupt

6. คำสั่ง: Mkfs.Ext4

คำสั่งนี้จะสร้าง ext4 file system ใหม่บนอุปกรณ์ที่ระบุ ถ้าระบุอุปกรณ์หลังคำสั่งนี้ผิด บล็อกทั้งหมดจะถูกล้างและถูก formatted ดังนั้น จึงไม่แนะนำให้คุณใช้ ถ้ายังไม่เข้าใจการใช้คำสั่งนี้เป็นอย่างดี

7. คำสั่ง: Vi/Emacs/Nano

vi (visual), emacs, nano เป็น editor ที่ถูกใช้งานบ่อยที่สุดตัวหนึ่งใน Linux พวกมันถูกใช้สำหรับการแก้ไข text

  • vi-editor

[กด ‘i’ เพื่อเพิ่ม insert mode ไม่งั้นคุณจะพิมพ์อะไรไม่ได้]

* alt+x (ออกจาก insert mode อย่าลืมเก็บช่องว่างระหว่างตัวอักษรตัวสุดท้าย

* ctrl+x (คำสั่งหรือคำสุดท้ายของคุณจะถูกลบ)

* : wq! (บันทึก file)

  • nano editor

จากนั้นก็แก้ไข text

*  ctrl+x (ทำการปิด editor) จากนั้นจะแสดง output ดังภาพด้านล่าง

คลิก 'y' เพื่อตอบ Yes แล้วใส่ชื่อ file เท่านนี้ถือว่าคุณทำเสร็จแล้ว

8. คำสั่ง: Rsync

Rsync จะใช้สำหรับการคัดลอก file และสามารถใช้ -P เพื่อสลับไปที่ progress bar ดังนั้นถ้าคุณมีการติดตั้ง rsync แล้ว คุณจะสามารถใช้ alias ง่ายๆ ได้

ตอนนี้ลองคัดลอก file ที่มีขนาดใหญ่ใน terminal และดู output ด้วยที่เหลือ ซึ่งมันคล้ายกับ progress bar

นอกจากนี้การเก็บรักษาและการ maintain ข้อมูลสำรอง เป็นหนึ่งในงานที่สำคัญและน่าเบื่อที่สุดของ system administrator ที่จำเป็นต้องทำ Rsync ถือเป็นเครื่องมือที่ดีมากสำหรับการสร้างและ maintain ข้อมูลสำรอง ใน terminal

หมายเหตุ: -z สำหรับ compression, -v สำหรับ verbose และ -r สำหรับ recursive

9. คำสั่ง: Mysqldump

จากชื่อก็พอจะเดาคร่าวๆ ได้ว่ามันใช้ทำอะไร คำสั่งนี้ใช้สำหรับ backup ข้อมูล database นั่นเอง ลองดูจากตัวอย่างนี้

หมายเหตุ: ถ้าจะใช้ mysqldump จะต้องให้ MySQL ทำงานด้วยและต้องใช้ password สำหรับการให้สิทธิ์การเข้าถึงด้วย

10. คำสั่ง: Uptime

หากคุณเพิ่ง connect กับ Linux Server Machine ของคุณ และพบว่ามีสิ่งที่ผิดปกติบางอย่าง สิ่งที่คุณจะทำคืออะไร? แน่นอนว่า คุณไม่สามารถ run uptime เพื่อตรวจสอบสิ่งที่เกิดขึ้นจริงเมื่อ server ไม่ปลอดภัย

11. คำสั่ง: Talk

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเขียนคำสั่ง, คำสั่ง talk จะช่วยให้คุณสามารถพูดคุยกับ user ที่กำลัง login อยู่ได้

หมายเหตุ: หากไม่ได้ติดตั้งคำสั่ง talk คุณสามารถใช้แพคเกจที่ต้องการได้ทุกครั้ง

หรือ

12. คำสั่ง: W

มันเป็นคำสั่ง แม้จะใช้เพียงแค่อักษรตัวเดียวสั้นๆ ก็ตาม โดยคำสั่ง w เป็นคำสั่งเพื่อแสดง user ที่ login รวมถึงคำสั่งที่ใช้งาน

ที่มา: https://www.technotification.com/

 

 

รับตำแหน่งงานไอทีใหม่ๆ ด้วยบริการ IT Job Alert

 

อัพเดทบทความจากคนวงในสายไอทีทาง LINE ก่อนใคร
อย่าลืมแอดไลน์ @techstarth เป็นเพื่อนนะคะ

เพิ่มเพื่อน

 

บทความที่เกี่ยวข้อง